วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2550

ผลการดำเนินการ"ผลไม้ป่าในป่าฮาลา-บาลา"

ผลไม้ป่าในป่าฮาลา-บาลา
รายงานการศึกษา" ผลไม้ป่าในป่าฮาลา-บาลา " เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการสำรวจ ในโครงการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสัตว์ป่า สวนป่าพระนามาภิไธยภาคใต้ พื้นที่ส่วนที่ 2 ประจำปี งบประมาณ 2546 โดยทำการสำรวจและรวบรวมข้อมูล ไม้ยืนต้น ที่ให้ผลกินได้ และบางชนิดที่ผลอาจกินไม่ได้แต่อยู่ในสกุลเดียวกับ ไม้ผลเศรษฐกิจ เช่น สกุลทุเรียน สกุลเงาะ สกุลมังคุด สกุลมะม่วง ในพื้นที่ป่าฮาลา - บาลา ทั้งนี้เพื่อเป็นการยืนยันถึงความอุดม สมบูรณ์ ของไม้ผลในพื้นที่ป่าผืนนี้ โดยจำแนกออกเป็นวงศ์และชนิด ซึ่งมีพรรณไม้ที่รวบรวมไว้ 13 วงศ์ รวม 56 ชนิด


จำปูริง /จำปูนิง วงศ์ EUPHORBIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Baccaurea minor

ประ วงศ์ EUPHORBIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Elateriospermum tapos
ชื่ออื่น กระ ประ (ภาคใต้) ปีระ (มลายู-ยะลา)

มะไฟกา วงศ์ EUPHORBIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Baccaurea parviflora
ชื่ออื่น มะไฟเต่า (สตูล) ส้มไฟป่า ส้มไฟดิน (นครศรีธรรมราช)

มะไฟฝรั่ง วงศ์ EUPHORBIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Baccaurea motleyana
ชื่ออื่น ระมะ ลำแข (ปัตตานี) ระมา รำไม (มลาย ู) รามาตีกุ๊ (มลายู-นราธิวาส)

มะเม่า วงศ์ EUPHORBIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Antidesma sp.


ลังแข EUPHORBIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Baccaurea macrocarpa
ชื่ออื่น มะแค้ ลังแข ลำแข (ปัตตานี)

ส้มแขก วงศ์ GUTTIFERAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Garcinia atroviridis
ชื่ออื่น ชะมวงช้าง มะขามแขก ส้มมะวน (ภาคใต้) ส้มควาย (ภาคใต้) ส้มพะงุน (ปัตตานี) อาแซกลูโก (มลายู-ยะลา)

มะดันหวาน วงศ์ GUTTIFERAE
ชื่อวิทยาศาสตร ์ Garcinia sp.
พวาป่า วงศ์ GUTTIFERAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Garcinia forbesii

ชะมวงป่า วงศ์ GUTTIFERAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Garcinia bancana
ชื่ออื่น ชะมวงกา (นราธิวาส) กานิฮูแต (มลายู-นราธิวาส)

ลำไย วงศ์ ANACARDIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Mangifera caesia
ชื่ออื่น บินยา ลำยา (มลายู-ภาคใต้)


มะหวด วงศ์ SAPINDACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Lepisanthes rubiginosa
ชื่ออื่น กะซ่ำ มะหวด (ภาคกลาง) กำจำ (ภาคใต้) นำซำ มะจำ (ภาคใต้) หวดคา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) สีฮอกน้อย (ภาคเหนือ)

คอแลน วงศ์ SAPINDACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Nephelium melliferum
ชื่ออื่น เงาะป่า (ภาคตะวันออก) เงาะป่าเทา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) กำลัง (ภาคใต้)

ยอเถื่อน วงศ์ RUBIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Morinda elliptica
ชื่ออื่น กะมูดู (มลายู-นราธิวาส) ยอป่า (ตรัง-สตูล)

หาดรุม วงศ์ MORACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus dadah


มะเดื่ออุทุมพร วงศ์ MORACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Ficus racemosa
ชื่ออื่น ฮาฆอ (มลายูภาคใต้) กูแซ เดื่อเกลี้ยง(ภาคกลาง ภาคเหนือ) เดื่อน้ำ(ภาคใต้) มะเดื่อ (ลำปาง) มะเดื่อชุมพร (ภาคกลาง)

ขนุนป่า วงศ์ MORACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Artocarpus lanceifolius
ชื่ออื่น หนังกาปิโต หนังกาปีปี๊ด (มลายู-ภาคใต้) นั่งกาปีแป๊ะ (มลายู-นราธิวาส)

กะออก MORACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์
Artocarpus elasticus
ชื่ออื่น กะออก กะเอาะ (ภาคใต้) ตือกะ (มลายู-ยะลา) เอาะ (ตรัง-ระนอง)

สังเครียดกล้อง วงศ์ MELIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Aglaia argentea
ชื่ออื่น สังเครียดดอหด (ตรัง) สังขะมา (สุราษฎรธานี)

กระท้อน วงศ์ MELIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Sandoricum koetjape
ชื่ออื่น เตียน ล่อน สะท้อน(ภาคใต้) มะต้อง (ภาคเหนือ) สตียา สะตู (มลายู- นราธิวาส) สะโต (มาลายู-ปัตตานี)

สะตอ วงศ์ LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Parkia speciosa
ชื่ออื่น กะตอ สะตอ ตอดาน ตอข้าว (ภาคกลาง ภาคใต้) ปะตา ปัตเต๊าะ (มลาย ู- ยะลา-ปัตตานี) ปาไต (มลายู-สตูล)

เนียงนก วงศ์ LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Archidendro bubalinum
ชื่ออื่น กะนัวะ ยิริงบูกง (มลายู-ปัตตานี) กือด๊ะ (มลายู-นราธิวาส)

เนียง วงศ์ LEGUMINOSAE-MIMOSOIDEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Archidendron jiringa
ชื่ออื่น ขางแดง (ลพบุรี) ชะเนียง (จันทบุรี) เนียง (ตรัง) พะเนียง (ปัตตานี) ยือริง (มลายู - ภาคใต้)

หยีทองบึ้ง วงศ์ LEGUMINOSAE-CAESALPINIODEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dialium platysepalum
ชื่ออื่น ทองบึ้ง (นราธิวาส) หยีทองบึ้ง (นครศรีธรรมราช)
กาหยีเขา วงศ์ LEGUMINOSAE-CAESALPINIODEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Dialium indum
ชื่ออื่น หยีเขา (ภาคใต้)

กระบก วงศ์ IRVINGIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Irvingia malayana
ชื่ออื่น กะบก (ภาคกลาง) หมากบก (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) มะมื่น มื่น (ภาคเหนือ) มะลื่น ( สุโขทัย) หลักกาย (สุรินทร์)

ก่อเหน่ง วงศ์ FAGACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Lithocarpus elegans
ชื่ออื่น ก่อหม่น(ภาคเหนือ) ก่อหมู่(สงขลา) ตลับเต้าปูน(สตูล) ปิดจุย(เย้า เชียงราย)


ก่อหิน วงศ์ FAGACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Lithocarpus encleisacarpus
ชื่ออื่น ก่อปัน (ปัตตานี) ก่อหิน (นครศรีธรรมราช) ก่อหมู (ตรัง)

ก่อหลับ วงศ์ FAGACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Lithocarpus curtisii

ก่อข้าว วงศ์ FAGACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์
Castanopsis inermis
ชื่ออื่น ก่อตาหมู (ตรัง)
ทุเรียนเลือด วงศ์ BOMBACACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Durio macrophyllus

ทุเรียนนก วงศ์ BOMBACACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Durio griffithii griffithii


ทุเรียนรากขา BOMBACACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Durio graveolens

มะมุด วงศ์ ANACARDIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Mangifera foetida
ชื่ออื่น มะแจ มาแจ มาจัง(มลายู-ภาคใต้) มะมุด มะละมุดไทย (ภาคใต้) มาแจฮูแต (มลายู-ภาคใต้)

มะกอก วงศ์ ANACARDIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Spondias pinnata
ชื่ออื่น กราไพ้ย ไพ้ย (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี) กอกกุก กูก (เชียงราย) กอกเขา (นครศรีธรรมราช) กอกหมอง (ชาน ภาคเหนือ) ไพแซ ( เชียงใหม่)




พระเจ้าห้าพระองค์ วงศ์ ANACARDIACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dracontomelon dao
ชื่ออื่น กะโค โก ซังกวน สะกวน (มลายู-ปัตตานี) ตะกู ตะโก แสนตาล้อม (เชียงราย)

สุมน อภินันทนพงศ์ 48
ผู้ศึกษา รวบรวม และเผยแพร่บทความ




































วันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2550

งานสำรวจและจัดทำแปลงรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร

· ชนิดพืชสมุนไพรในแปลงรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร
นางแย้ม
ชื่อวิทยาศาสตร์ Clerodendrum chinensis
ชื่อวงศ์ LABIATAE
สรรพคุณ ใบ ตำพอกแก้โรคผิวหนังแก้ผดผื่น ราก แก้ปวดข้อแก้เหน็บชา แก้ริดสีดวง แก้ไต
พิการแก้หลอดลมอักเสบ ขับปัสสาวะ
ตะลิงปลิง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Averrhoa bilimbi
ชื่อวงศ์ OXALIDACEAE
สรรพคุณ ใบ แก้ลำไส้ใหญ่อักเสบ พอกแก้คันแก้คางทูม ดอก แก้ไอ ลูก บำรุงร่างกายสมานแผล


งิ้วป่า
ชื่อวิทยาศาสตร์ Bombax anceps
ชื่อวงศ์ BOMBACACEAE
สรรพคุณ ใบตำพอกแก้ฟกช้ำ เปลือกต้น แก้ท้องเสียแก้บิด ราก ขับปัสสาวะ ดอกแห้งรักษาแผลน้ำร้อนลวก



คำไทย
ชื่อวิทยาศาสตร์
Bixa orellana
ชื่อวงศ์ BIXACEAE
สรรพคุณ ดอกบำรุงโลหิตแก้น้ำเหลืองเสีย แก้โลหิตจาง เมล็ด สมานบาดแผล ตำพอกแก้ โรค ผิวหนัง


กลอย
ชื่อวิทยาศาสตร์
Dioscoria hispida
ชื่อวงศ์ DIOSCOREACEAE
สรรพคุณ หัวใต้ดิน หุงเป็นน้ำมันใส่แผล กัดฝ้ากัดหนอง หัวมีสารพิษหลายชนิดทำให้เกิดอาการเมา





• งานสำรวจและจัดทำแปลงรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร

กระดังงาไทย
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cananga ordorata
ชื่อวงศ์ ANONACEAEA
สรรพคุณ เปลือกขับปัสสาวะ แก้ท้องเสีย ดอกบำรุงโลหิต บำรุงหัวใจ
ป้ายสื่อความหมายภายในแปลงรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร

ที่นั่งพักภายในแปลงรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร


ศาลาพักชมทิวทัศน์ภายในแปลงรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร



ทางเดินศึกษาพืชสมุนไพรในแปลงรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร
ทางเข้าแปลงรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร

ป้ายชื่อแปลงรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร







วันจันทร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2550

วงศ์หมากและหวายที่พบในฮาลา-บาลา

ผลการสำรวจศีกษาชนิดพันธุ์หวายในป่าฮาลา-บาลา (รายงานประจำปี 2543 โครงการอนุรักษ์ธรรมชาติและสัตว์ป่า สวนป่าพระนามาภิไธย ภาคใต้) พบชนิดหวายจำนวนทั้งหมด 36 ชนิด 6 สกุล ดังรายละเอียดดังนี้


หวายงวย (Calamus peregrinus)


หวายขี้เหร่ (Calamus densiflorus)


หวายแกรกรียะ (Calamus radulosus)
หวายข้อดำ (Calamus manan)

หวายพระราม (Calamus exilis)
2. หวายสกุล Daemonorob พบจำนวน 8 ชนิด



หวายนั่ง (Daemonorob kunstleri)


หวายตาปลา (Daemonorob verticillaris)

หวายพนขนหนอน (Daemonorob sabut)
3. หวายสกุล Korthalsia พบจำนวน 3 ชนิด

หวายกุ้ง (Korthalsia scortechinii)

หวายเดาหนู (Korthalsia rigida)
หวายเดาใหญ่ Korthalsia grandis
4. หวายสกุล Myrialepis พบจำนวน 1 ชนิด

1.หวายช้าง (Myrialepis paradoxa)
5. หวายสกุล Plectocomia พบจำนวน 1 ชนิด

หวายเต่าเพราะ Plectocomia macrostacha

6. หวายสกุล Plectocomiopsis พบจำนวน 1 ชนิด

1.หวายกุ้งน้ำพราย Plectocomiopsis geminiflora
บังสูรย์ (Johannesteijsmannia altifrons)
จากเขา (Eugeissona tristis)

หลังกับ ( Arenga westerhoutii )
หลาวชะโอน (Oncosperma horrida)
หมากพน (Orania sylvicola)


หมากตอก (Iguanura wallichiana)

หมากแฝด (Iguanura bicornis)

เต่าร้างยักษ์ (Caryota maxima)
ศรีสยาม ( Arenga hookeriana)