รายงานการศึกษา" ผลไม้ป่าในป่าฮาลา-บาลา " เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการสำรวจ ในโครงการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสัตว์ป่า สวนป่าพระนามาภิไธยภาคใต้ พื้นที่ส่วนที่ 2 ประจำปี งบประมาณ 2546 โดยทำการสำรวจและรวบรวมข้อมูล ไม้ยืนต้น ที่ให้ผลกินได้ และบางชนิดที่ผลอาจกินไม่ได้แต่อยู่ในสกุลเดียวกับ ไม้ผลเศรษฐกิจ เช่น สกุลทุเรียน สกุลเงาะ สกุลมังคุด สกุลมะม่วง ในพื้นที่ป่าฮาลา - บาลา ทั้งนี้เพื่อเป็นการยืนยันถึงความอุดม สมบูรณ์ ของไม้ผลในพื้นที่ป่าผืนนี้ โดยจำแนกออกเป็นวงศ์และชนิด ซึ่งมีพรรณไม้ที่รวบรวมไว้ 13 วงศ์ รวม 56 ชนิด

ชื่อวิทยาศาสตร์ Baccaurea minor

ชื่อวิทยาศาสตร์ Elateriospermum tapos
ชื่ออื่น กระ ประ (ภาคใต้) ปีระ (มลายู-ยะลา)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Baccaurea parviflora
ชื่ออื่น มะไฟเต่า (สตูล) ส้มไฟป่า ส้มไฟดิน (นครศรีธรรมราช)
-Baccaure.jpg)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Baccaurea motleyana
ชื่ออื่น ระมะ ลำแข (ปัตตานี) ระมา รำไม (มลาย ู) รามาตีกุ๊ (มลายู-นราธิวาส)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Antidesma sp.

ชื่อวิทยาศาสตร์ Baccaurea macrocarpa
ชื่ออื่น มะแค้ ลังแข ลำแข (ปัตตานี)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Garcinia atroviridis
ชื่ออื่น ชะมวงช้าง มะขามแขก ส้มมะวน (ภาคใต้) ส้มควาย (ภาคใต้) ส้มพะงุน (ปัตตานี) อาแซกลูโก (มลายู-ยะลา)

ชื่อวิทยาศาสตร ์ Garcinia sp.

ชื่อวิทยาศาสตร์ Garcinia forbesii

ชื่อวิทยาศาสตร์ Garcinia bancana
ชื่ออื่น ชะมวงกา (นราธิวาส) กานิฮูแต (มลายู-นราธิวาส)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Mangifera caesia
ชื่ออื่น บินยา ลำยา (มลายู-ภาคใต้)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Lepisanthes rubiginosa
ชื่ออื่น กะซ่ำ มะหวด (ภาคกลาง) กำจำ (ภาคใต้) นำซำ มะจำ (ภาคใต้) หวดคา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) สีฮอกน้อย (ภาคเหนือ)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Nephelium melliferum
ชื่ออื่น เงาะป่า (ภาคตะวันออก) เงาะป่าเทา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) กำลัง (ภาคใต้)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Morinda elliptica
ชื่ออื่น กะมูดู (มลายู-นราธิวาส) ยอป่า (ตรัง-สตูล)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus dadah

ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus racemosa
ชื่ออื่น ฮาฆอ (มลายูภาคใต้) กูแซ เดื่อเกลี้ยง(ภาคกลาง ภาคเหนือ) เดื่อน้ำ(ภาคใต้) มะเดื่อ (ลำปาง) มะเดื่อชุมพร (ภาคกลาง)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lanceifolius
ชื่ออื่น หนังกาปิโต หนังกาปีปี๊ด (มลายู-ภาคใต้) นั่งกาปีแป๊ะ (มลายู-นราธิวาส)

ชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ Artocarpus elasticus
ชื่ออื่น กะออก กะเอาะ (ภาคใต้) ตือกะ (มลายู-ยะลา) เอาะ (ตรัง-ระนอง)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Aglaia argentea
ชื่ออื่น สังเครียดดอหด (ตรัง) สังขะมา (สุราษฎรธานี)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Sandoricum koetjape
ชื่ออื่น เตียน ล่อน สะท้อน(ภาคใต้) มะต้อง (ภาคเหนือ) สตียา สะตู (มลายู- นราธิวาส) สะโต (มาลายู-ปัตตานี)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Parkia speciosa
ชื่ออื่น กะตอ สะตอ ตอดาน ตอข้าว (ภาคกลาง ภาคใต้) ปะตา ปัตเต๊าะ (มลาย ู- ยะลา-ปัตตานี) ปาไต (มลายู-สตูล)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Archidendro bubalinum
ชื่ออื่น กะนัวะ ยิริงบูกง (มลายู-ปัตตานี) กือด๊ะ (มลายู-นราธิวาส)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Archidendron jiringa
ชื่ออื่น ขางแดง (ลพบุรี) ชะเนียง (จันทบุรี) เนียง (ตรัง) พะเนียง (ปัตตานี) ยือริง (มลายู - ภาคใต้)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Dialium platysepalum
ชื่ออื่น ทองบึ้ง (นราธิวาส) หยีทองบึ้ง (นครศรีธรรมราช)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Dialium indum
ชื่ออื่น หยีเขา (ภาคใต้)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Irvingia malayana
ชื่ออื่น กะบก (ภาคกลาง) หมากบก (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) มะมื่น มื่น (ภาคเหนือ) มะลื่น ( สุโขทัย) หลักกาย (สุรินทร์)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Lithocarpus elegans
ชื่ออื่น ก่อหม่น(ภาคเหนือ) ก่อหมู่(สงขลา) ตลับเต้าปูน(สตูล) ปิดจุย(เย้า เชียงราย)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Lithocarpus encleisacarpus
ชื่ออื่น ก่อปัน (ปัตตานี) ก่อหิน (นครศรีธรรมราช) ก่อหมู (ตรัง)

ก่อหลับ วงศ์ FAGACEAE
ชื่อวิทยาศาสตร์ Lithocarpus curtisii

ชื่อวิทยาศาสตร์ Castanopsis inermis
ชื่ออื่น ก่อตาหมู (ตรัง)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Durio macrophyllus

ชื่อวิทยาศาสตร์ Durio griffithii griffithii

ชื่อวิทยาศาสตร์ Durio graveolens

ชื่อวิทยาศาสตร์ Mangifera foetida
ชื่ออื่น มะแจ มาแจ มาจัง(มลายู-ภาคใต้) มะมุด มะละมุดไทย (ภาคใต้) มาแจฮูแต (มลายู-ภาคใต้)
1 ความคิดเห็น:
Hello. This post is likeable, and your blog is very interesting, congratulations :-). I will add in my blogroll =). If possible gives a last there on my blog, it is about the Smartphone, I hope you enjoy. The address is http://smartphone-brasil.blogspot.com. A hug.
แสดงความคิดเห็น